เนื้อหาน่าสนใจ

รูปที่ 22 ภาพอุโมงค์ยักษ์ระบายน้ำแห่งแรกของกรุงเทพมหานครซึ่งก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยตามแผน

“เบื้องหลัง” การเจาะอุโมงค์ระบายน้ำโครงการผันน้ำคลองเปรมประชากร

“เธอเจาะได้ ฉันเจาะด้วย” คือชื่อบทความที่ท่านกำลังอ่านอยู่นี้ คำว่า “เธอเจาะได้” นั้นหมายถึง การเจาะอุโมงค์ของโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (สายเฉลิมรัชมงคล) รถไฟฟ้าใต้ดินสายแรกของประเทศไทย ส่วน“ฉันเจาะด้วย” ที่จะเล่า “เบื้องหลัง” นั้น เป็นการเจาะอุโมงค์ของโครงการผันน้ำคลองเปรมประชากร ซึ่งเป็นโครงการสร้างระบบผันน้ำผ่านอุโมงค์ยักษ์แห่งแรกของกรุงเทพมหานคร ในสมัยของท่านผู้ว่าฯ ดร.พิจิตต รัตตกุล ตามแนว (ใต้) ถนนประชาราษฎร์สาย 2 ทั้งนี้อุโมงค์ของทั้งสองโครงการนี้เริ่มเจาะในเวลาไล่เลี่ยกัน และด้วยวิธีการที่เหมือนกัน เพียงต่างกันที่ขนาดของหัวเจาะหรืออุโมงค์เท่านั้น

Read more ›
ทำไมเพลสิโอซอร์จึงไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์

ทำไมเพลสิโอซอร์จึงไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์

ฟุตาบะซอรัส ดึกดำบรรพ์ที่ปรากฏตัวในภาพยนตร์แอนิเมชันการ์ตูน โดราเอมอน ตอน “ไดโนเสาร์ของโนบิตะ” ฉายในปีพ.ศ. 2549 ความจริงแล้วไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์ แต่ถือเป็นหนึ่งในสัตว์เลื้อยคลานทางทะเลในกลุ่มเพลสิโอซอร์ (plesiosaur) ซึ่งอาศัยอยู่ร่วมยุคกับไดโนเสาร์ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น?

Read more ›
แฟนพันธุ์แท้แห่งปีกับความเร็ว

แฟนพันธุ์แท้แห่งปีกับความเร็ว

ในการแข่งขันรายการแฟนพันธุ์แท้แห่งปีนั้น มีเกมส์หนึ่งซึ่งเป็นเกมส์เพื่อใช้วัดไหวพริบและสมาธิของผู้เข้าแข่งขัน นั่นก็คือ หมวดแฟนพันธุ์แท้กับความเร็ว โดยผู้เข้าแข่งจะต้องตอบคำถามนั้นภายในเวลาสามวินาที หากเป็นการแข่งขันในรอบสัปดาห์แล้วจะสามารถตอบกี่ครั้งก็ได้ภายในเวลาสามวินาที แต่ถ้าหากเป็นการแข่งขันแฟนพันธุ์แท้แห่งปีมีทั้งหมด 25 ข้อ จะต้องตอบให้ถูกต้องเท่านั้นในเวลาสามวินาที สามารถเลือกที่จะข้ามคำถามได้

Read more ›
พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ – บทส่งท้าย

พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ – บทส่งท้าย

ความรู้และประวัติโครงการก่อสร้างพระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาเขาชีจรรย์ “พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา” อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี บันทึกโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล ผู้อำนวยการโครงการฯ

Read more ›
ภาพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร  องค์ประธานคณะกรรมการอำนวยการเสด็จตรวจงานสถานีเลเซ่อร์ บริเวณหน้าผาเขาชีจรรย์
(จากซ้าย: อาจารย์กนก บุญโพธิ์แก้ว-ตอนต่อๆไปคงจะได้เห็นหน้าชัดๆ- ดร.พงศ์พันธ์ จินดาอุดม  คุณอุดม ภู่งามและผู้เขียน)

พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ – ขอบใจ

ความรู้และประวัติโครงการก่อสร้างพระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาเขาชีจรรย์ “พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา” อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี บันทึกโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล ผู้อำนวยการโครงการฯ

Read more ›
การนำเสนอผลงานทางธรณีวิทยา

การนำเสนอผลงานทางธรณีวิทยา

การบรรยายความรู้ทางธรณีวิทยาต้องอาศัยภาพประกอบ ความน่าสนใจของผลงานที่นำเสนอจึงขึ้นอยู่กับคุณภาพของภาพประกอบ เช่น แผนที่ กราฟ ตาราง รูปภาพ แม้ว่าผู้นำเสนอจะไม่ใช่เป็นคนที่พูดเก่ง แต่การทำสื่อนำเสนอที่ดีก็จะสามารถช่วยดึงดูดความน่าสนใจและสร้างความประทับใจให้กับผู้ชมได้ เนื้อหาต่อไปนี้เป็นแนวสำหรับการเตรียมสื่อเพื่อประกอบการบรรยาย รวบรวมจากประสบการณ์การเข้าร่วมงานประชุมสัมมนาทางธรณีวิทยาทั้งในและต่างประเทศ

Read more ›
พลังงานหยั่งลึก

พลังงานหยั่งลึกกับการสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย

สื่อประชาสัมพันธ์ชุด พลังงานหยั่งลึก – อธิบายการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน

Read more ›
นักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียมหญิงไทย

นักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียมหญิงไทย

สัมภาษณ์ อมรรัตน์ กาสิงห์ ศิษย์เก่าธรณีศาสตร์ รุ่นแรก ของมหาวิทยาลัยมหิดล กับการทำงานเป็นนักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียม และประสบการณ์ชีวิตในประเทศอาเซอร์ไบจาน

Read more ›
ตัวอย่างฟอสซิลบีเวอร์

บีเวอร์สยาม หลักฐานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกในอดีต

บีเวอร์ เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในเฉพาะเขตซีกโลกเหนือ ซึ่งยังไม่เคยพบเห็นในเขตเส้นศูนย์สูตรปัจจุบัน แต่รู้หรือไม่ ในอดีตประเทศไทยเคยมีบีเวอร์ ซากดึกดำบรรพ์ของบีเวอร์ถูกค้นพบในเหมืองแม่เมาะ จ.ลำปาง ซึ่งเป็นพันธุ์ใหม่ของโลก ชื่อเล่นว่า “บีเวอร์สยาม” การค้นพบทำให้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในอดีต รวมถึงสภาพแวดล้อมโบราณที่พวกมันอาศัยอยู่ด้วย

Read more ›
การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ

การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ

การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ: ความรู้เบื้องต้นที่นักธรณีวิทยาควรรู้ โดย ดร.ธีระ คำวงษ์ นักธรณีวิทยาด้านการสำรวจแหล่งแร่เศรษฐกิจ บทความสรุปนี้กลั่นกรองมาจากประสบการณ์ของผู้เขียน และบางส่วนได้อ้างอิงมาจากวารสารต่างประเทศ โดยจะมี หัวข้อหลักๆ ตามนี้ 1. ต้นกำเนิดแร่ทองคำ 2. กระบวนการเกิดทองคำ 3. ประเภทของแหล่งแร่ทองคำ 4. ขั้นตอนการสำรวจทองคำ

Read more ›