Author: สุคนธ์เมธ จิตรมหันตกุล

ไลแอลรำลึก

ไลแอลรำลึก

บุคคลสำคัญที่วงการธรณีวิทยาทั่วโลกยกย่องว่าเป็นบิดาธรณีวิทยา คือ เซอร์ ชาร์ลส์ ไลแอล (Sir Charles Lyell)

Read more ›
ทำไมเกิดแผ่นดินไหวบ่อยขึ้น?

ทำไมเกิดแผ่นดินไหวบ่อยขึ้น?

ข่าวเกี่ยวกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นแทบจะทุกวันในช่วงตลอดสองสามปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่เหตุการณ์แผ่นดินไหวเฮติและชิลี และล่าสุดที่ญี่ปุ่น ทำให้หลายคนเกิดความสงสัยว่าแผ่นดินไหวเกิดบ่อยขึ้นหรือไม่? ทำไมจึงมีแผ่นไหวเพิ่มมากขึ้น? หรือว่าโลกเรากำลังจะแตก?

Read more ›
สอ เศรษฐบุตร นักธรณีผู้แปลอังกฤษเป็นไทย

สอ เศรษฐบุตร นักธรณีผู้แปลอังกฤษเป็นไทย

สอ เสถบุตร เป็นใคร ก็คงเหมือนกับหลายๆ คนที่รู้แค่ว่าเป็นชื่อคนแปลศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นไทยให้เราได้ใช้เรียนกัน แต่เมื่อได้ตามอ่านชีวประวัติแล้ว พบว่า สอ เสถบุตร มีบทบาทสำคัญมากต่อคนไทยในหลายวงการ ทั้งการศึกษา การเมือง และธรณีวิทยา สอ เสถบุตร เรียนจบทางด้านธรณีวิทยาและวิศวกรรมด้วยใบปริญญาเกียรตินิยม จากอังกฤษ บทความต่อไปนี้คัดลอกมาจากหนังสือพิมพ์ข่าวสด และนิตยสารสารคดีฉบับพิเศษ เพื่อให้ทุกคนรู้จักนักธรณีวิทยาท่านนี้มากขึ้น

Read more ›

เรียนวัฏจักรของหินผ่านโฆษณา

เรียนรู้กระบวนการผุพัง (weathering) และการกร่อน (erosion) จากภาพยนต์โฆษณาของโทรศัพท์มือถือโมโตโรล่า รุ่น PEBL คลิปวิดีโอสั้นนี้แสดงเรื่องราวของอุกกาบาตที่ตกสู่โลกแล้วผ่านกระบวนการผุพังและการกร่อนโดยธรรมชาติ จนกระทั่งกลายเป็นก้อนกรวดผิวเรียบ “pebble” อาจจะเป็นอิทธิพลทำให้กลายเป็นชื่อรุ่นของมือถือนี้ก็ได้ แต่คงไม่ใช่ หลังจากชมภาพยนต์โฆษณานี้แล้วทำให้เห็นภาพของกระบวนการทางธรณีวิทยามากขึ้น กระบวนการทั้งสองนี้แตกต่างกันตรงที่การผุพังนั้นเป็นการทำให้หินแตกเป็นชิ้นเล็กๆ (ช่วงแรกของคลิป) ในขณะที่การกร่อนนั้นเกิดจากการถูกพัดพาโดยตัวกลาง เช่น แม่น้ำลำธาร ทำให้ได้หินกลายเป็นกรวดมนๆ ซึ่งเป็นผลจากการขัดสีและกระทบกันของก้อนหินระหว่างการเดินทาง ความกลมมนของก้อนหินนี้เองที่ถูกนำมาใช้สื่อถึงความกลมมนของตัวสินค้า ดังที่จะเห็นการเปรียบเทียบโทรศัพท์มือถือกับก้อนหินในคลิปที่สอง ดูเผินๆ อาจจะแยกกันไม่ออกเลย

Read more ›
นักธรณีชาวภารตะค้นพบวัด??

นักธรณีชาวภารตะค้นพบวัด??

ล่าสุดผมได้รับ forward mail ฉบับหนึ่งหัวข้อว่า “มรกรตนคร (ดินแดนแห่งจุดนัดพบของทิวาและราตรีกาล) ถูกค้นพบโดยนักธรณีชาวภารตะ” เนื้อหาภายในเป็นภาพสิ่งปลูกสร้างที่มีสถาปัตยกรรมอันสวยงาม หลายภาพ จากหลายมุมมอง ไม่พบคำบรรยายหรือคำอธิบายเกี่ยวกับสถานที่แต่อย่างใด ปกติแล้วเมื่อได้รับ forward mail แบบนี้ก็จะดูแล้วก็เลยผ่านไป แต่ด้วยหัวข้อที่ระบุอย่างชัดเจนว่าเป็นการค้นพบโดยนักธรณี ก็เลยอดสงสัยไม่ได้ว่ามีที่มาที่ไปอย่างไรกันแน่

Read more ›
สถานีวิทยุดิจิตอลที่ชาวธรณีไม่ควรพลาด

สถานีวิทยุดิจิตอลที่ชาวธรณีไม่ควรพลาด

คงจะเชยน่าดูหากไม่รู้จักคำว่า “พอดแคสต์” (Podcast) เพราะตอนนี้เมืองนอกเขาได้มีการแผยแพร่ความรู้ทางธรณีวิทยาผ่านพอดแคสต์กันแล้วนะครับ แต่..เอ๊ะ! มันคืออะไรกันหน๋อ วันนี้เรามาทำความรู้จักกับคำนี้กันดีกว่า จะได้ไม่มีใครมาหาว่าเราเป็นนักธรณีล้าสมัย

Read more ›