Author: ทีมวิชาการธรณีไทย

พลังงานความร้อนใต้พิภพ

พลังงานความร้อนใต้พิภพ

Geothermal Energy Association ได้เผยแพร่เอกสารฉบับล่าสุดเกี่ยวกับพลังงานความร้อนใต้พิภพ (Geothermal 101: Basics of Geothermal Energy Production)  ซึ่งเป็นเอกสารที่ให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพลังงานความร้อนใต้พื้นพิภพและการนำไปใช้ประโยชน์ ซึ่งตั้งแต่ระดับครัวเรือนไปจนถึงโรงงานอุตสาหกรรม

Read more ›
204 ปีชาร์ลส์ ดาร์วิน นักธรณีบูรณาการ

204 ปีชาร์ลส์ ดาร์วิน นักธรณีบูรณาการ

หลังจากที่ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) ได้อ่านหนังสือหลักการธรณีวิทยา (Principles of Geology) ของชาร์ลส์ ไลแอล ระหว่างการเดินทางรอบโลกไปกับเรือหลวงบีเกิลในฐานะนักธรรมชาติวิทยา ทำให้เขาเข้าถึงหลักกระบวนการคิดในเชิงธรณีวิทยาอย่างแท้จริง และนั่นทำให้เขากลายเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาธรรมชาติระดับแนวหน้า

Read more ›
สรุปสุดยอดแผ่นดินไหวในปี 2552

สรุปสุดยอดแผ่นดินไหวในปี 2552

 USGS ได้ทำรายงานสรุปเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในปี 2552 เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดของเหตุการณ์แต่ละครั้ง รวมถึงโปสเตอร์ และข่าวที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นการสรุปเน้นเฉพาะเหตุการณ์ที่รุนแรงและทรงพลัง เช่น แผ่นดินไหวที่มลฑลเสฉวน เป็นต้น สังเกตดีๆ จะพบว่าตำแหน่งของการเกิดนั้นส่วนใหญ่จะอยู่ตามขอบแผ่นเปลือกโลก ที่น่ากลัวไปกว่านั้นก็คือ ประเทศไทยถูกล้อมด้วยตำแหน่งเหล่านั้น

Read more ›
แผนที่ธรณีแปรสัณฐาน

แผนที่ธรณีแปรสัณฐาน

แผนที่ธรณีแปรสัณฐาน (This Dynamic Planet: World Map of Volcanoes, Earthquake, Impact Craters, and Plate Tectonics) ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับภูเขาไฟ แผ่นดินไหว หลุมอุกกาบาต แผ่นเปลือกโลก เป็นอย่างดีและเข้าใจได้ง่าย (ภาษาอังกฤษ) พร้อมภาพประกอบสวยงาม จัดทำโดย USGS สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี มีสองขนาดทั้งแบบโปสเตอร์ขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก (.pdf) เหมาะสำหรับการเรียนการสอนของคุณครู และนักเรียนที่สนใจ ดังนั้นใครที่กำลังมองหาแผนที่ดีๆ แบบนี้ ไม่ควรพลาดเด็ดขาด รายละเอียดการดาวน์โหลดด้านใน!

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย ตอนพิเศษ – สึนามิ

  รอบรู้ธรณีไทย ตอนแทรก – ความรู้และประมวลเหตุการณ์สึนามิในไทย What’s Tsunami ? and about Tsunami in Thailand 2004  สึนามิ แปลว่า คลื่นอ่าว มักเกิดจากแผ่นดินไหวใต้ทะเล บางครั้งเกิดจากมวลแผ่นดินถล่มขนาดใหญ่บริ เวณชายฝั่งก็ได้ แล้วเกิดการกระเพื่อมของมวลน้ำทะเล ร่วมกับปัจจัยด้านความลาดชันของไหล่ทวีปแล ะลักษณะของชายฝั่งทำให้ลูกคลื่นสูงยิ่งขึ้ น (เปรียบเทียบน้ำที่กระฉอกขอบถังจำนวนมากเม ื่อสั่นสะเทือนก้นถังด้วยการลากเพียงเล็กน ้อย) ข้อสังเกตก่อนเกิดสึนามิมักพบปรากฏการณ์ดึ งมวลน้ำ ระดับน้ำทะเลลดลงก่อนโถมกลับมาเป็นคลื่นลู กใหญ่ สึนามิเมื่อ 26 ธ.ค. 2547 เกิดจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวเป็นรอยเลื่อนย าว ทิศเหนือนอกเกาะสุมาตรา ความรุนแรง 9.3 ริกเตอร์ นอกจากอินโดนีเซียและไทย คลื่นยังแผ่ขยายไปถึงชายฝั่งอินเดียและแอฟ ริกา ส่วนประเทศไทยได้รับผลกระทบ ได้แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล โดยสึนามิที่ เขาหลัก ลักษณะสันคลื่นไม่สูงแต่โถมเข้าลึกด้วยพลั งทำลายสูง ความเร็วคลื่น 35-40 กม./ชม. ใช้เวลาเข้าท่วมเพียง […]

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 12 – ธรณีวิทยาเพื่อใคร

  รอบรู้ธรณีไทย 12 – ธรณีวิทยาเพื่อใคร Why and Who should to learn geology ?  ประโยชน์ที่เกิดจากการศึกษาทางธรณีวิทยา ได้แก่  1.เพื่อพัฒนาอาคารสถานที่โครงสร้างพื้นฐาน  2.เพื่อบรรเทาหลีกเลี่ยงธรณีพิบัติภัย  3.เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ  4.เพื่อจัดสรรพื้นที่   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 11 – ขุมทรัพย์ใต้พิภพ

  รอบรู้ธรณีไทย 11 – ขุมทรัพย์ใต้พิภพ Underworld Treasure  แร่ เป็นสารอนินทรีย์ที่เกิดเองตามธรรมชาติ มีสมบัติหลากหลายตามชนิด และส่วนใหญ่มีประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งทางตรง และทางอ้อม ในธรรมชาติแร่ชนิดหนึ่งอยู่ปะปนกับแร่อื่น จึงต้องแยกเสียก่อน มวลธรณีที่พบแร่เศรษฐกิจมากและยังไม่ได้แย ก เรียกว่า สินแร่ (เช่น ฮีมาไทต์ คือสินแร่เหล็ก ถลุงแล้วได้ เหล็ก) ประเภทของแร่ แบ่งใหญ่ตามสมบัติ ได้แก่ แร่โลหะ และแร่อโลหะ แร่โลหะที่พบในประเทศไทย เช่น เหล็ก ดีบุก สังกะสี ตะกั่ว เงิน ทอง ฯลฯ และแร่อโลหะ เช่น ยิปซัม ทัลก์ แคลไซต์ แร่ใยหิน ฯลฯ หรือแบ่งตามประโยชน์ เช่น แร่รัตนชาติ หรือแร่เชื้อเพลิง แร่รัตนชาติ แบ่งกลุ่มเป็น เพชร และพลอย (พลอยยังแบ่งย่อยอีกหลายกลุ่ม เช่น ทับทิม ไพลิน พลอยเขียว บุษราคัม นิล ฯลฯ) […]

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 10 – ธรณีพิบัติภัย

  รอบรู้ธรณีไทย 10 – ธรณีพิบัติภัย Geological Disaster  ภัยธรรมชาติทางธรณีวิทยาในประเทศไทยถือว่า พบน้อยกว่าส่วนอื่นของโลก ได้แก่  1.ดินถล่ม (โคลนถล่ม) เกิดจากฝนตกหนักน้ำไหลบ่าบนที่สูงชัน  2.แม่น้ำกัดเซาะตลิ่งพัง และหลุมยุบ เกิดตามธรรมชาติแต่กิจกรรมของมนุษย์เป็นตั วเร่ง เช่น การสูบทราย การสูบน้ำบาดาล  3. แผ่นดินไหว และสึนามิ ประเทศไทยไม่ใช่แนวแผ่นดินไหวแต่ก็มีพื้นท ี่เสี่ยงภัย ภาคตะวันตกและชายฝั่งอันดามัน ควรสังเกตปรากฏการณ์ดึงมวลน้ำซึ่งเป็นสัญญ าณก่อนเกิดสึนามิ   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 9 – ตามรอยไดโนเสาร์ไทย

  รอบรู้ธรณีไทย 9 – ตามรอยไดโนเสาร์ไทย Thai Dinosaurs  ฟอสซิล (ซากดึกดำบรรพ์) เกิดจากการเกิดชั้นหินตะกอนทับถมปกคลุมซาก สิ่งมีชีวิต ไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทยมีทั้งกลุ่ม ซอโรพอด (ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่) เช่น ภูเวียงโกซอรัสสิรินธรเน เป็นกระดูกจำนวนมากค่อนข้างสมบูรณ์ กลุ่ม เทอโรซอร์ (ไดโนเสาร์กินเนื้อสองขา) เช่น สยามโมไทรันนัสอิสานเอนซิส ต้นตระกูลของทีเร็กซ์ เป็นกระดูกครึ่งตัว กลุ่ม ซิตตาโกซอร์ (ไดโนเสาร์ปากนกแก้ว) เป็นกระดูกขากรรไกร กลุ่ม คาร์โนซอร์ (ไดโนเสาร์ล่าเนื้อขนาดเล็ก) เป็นรอยเท้าจำนวนมาก   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 8 – ฟอสซิลไทย

  รอบรู้ธรณีไทย 8 – ฟอสซิลไทย Fossil in Thailand  แหล่งซากดึกดำบรรพ์ทำให้รู้ความเป็นมาของส ิ่งมีชีวิต เช่น มนุษย์เกิดขึ้นเมื่อ 5 ล้านปี หรือเป็นหลักฐานว่า เปลือกโลกเปลี่ยนแปลงทำให้แผ่นดินจมลงกลาย เป็นทะเล หรือทะเลยกตัวขึ้นกลายเป็นแผ่นดิน ฟอสซิลพบเฉพาะในหินตะกอน และมักพบโดยบังเอิญ ในประเทศไทยพบทั้งฟอสซิลของ หอยโบราณ หอยกาบยักษ์ ปลาน้ำจืดโบราณ เฟิร์น พืชน้ำ หนอนโบราณ ช้างโบราณ จระเข้ วัว เอป (ลิงโบราณบรรพบุรุษของลิงไร้หางและมนุษย์)   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›