Category: บทความแนะนำ

การนำเสนอผลงานทางธรณีวิทยา

การนำเสนอผลงานทางธรณีวิทยา

การบรรยายความรู้ทางธรณีวิทยาต้องอาศัยภาพประกอบ ความน่าสนใจของผลงานที่นำเสนอจึงขึ้นอยู่กับคุณภาพของภาพประกอบ เช่น แผนที่ กราฟ ตาราง รูปภาพ แม้ว่าผู้นำเสนอจะไม่ใช่เป็นคนที่พูดเก่ง แต่การทำสื่อนำเสนอที่ดีก็จะสามารถช่วยดึงดูดความน่าสนใจและสร้างความประทับใจให้กับผู้ชมได้ เนื้อหาต่อไปนี้เป็นแนวสำหรับการเตรียมสื่อเพื่อประกอบการบรรยาย รวบรวมจากประสบการณ์การเข้าร่วมงานประชุมสัมมนาทางธรณีวิทยาทั้งในและต่างประเทศ

Read more ›
พลังงานหยั่งลึก

พลังงานหยั่งลึกกับการสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย

สื่อประชาสัมพันธ์ชุด พลังงานหยั่งลึก – อธิบายการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน

Read more ›
นักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียมหญิงไทย

นักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียมหญิงไทย

สัมภาษณ์ อมรรัตน์ กาสิงห์ ศิษย์เก่าธรณีศาสตร์ รุ่นแรก ของมหาวิทยาลัยมหิดล กับการทำงานเป็นนักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียม และประสบการณ์ชีวิตในประเทศอาเซอร์ไบจาน

Read more ›
ตัวอย่างฟอสซิลบีเวอร์

บีเวอร์สยาม หลักฐานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกในอดีต

บีเวอร์ เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในเฉพาะเขตซีกโลกเหนือ ซึ่งยังไม่เคยพบเห็นในเขตเส้นศูนย์สูตรปัจจุบัน แต่รู้หรือไม่ ในอดีตประเทศไทยเคยมีบีเวอร์ ซากดึกดำบรรพ์ของบีเวอร์ถูกค้นพบในเหมืองแม่เมาะ จ.ลำปาง ซึ่งเป็นพันธุ์ใหม่ของโลก ชื่อเล่นว่า “บีเวอร์สยาม” การค้นพบทำให้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในอดีต รวมถึงสภาพแวดล้อมโบราณที่พวกมันอาศัยอยู่ด้วย

Read more ›
การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ

การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ

การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ: ความรู้เบื้องต้นที่นักธรณีวิทยาควรรู้ โดย ดร.ธีระ คำวงษ์ นักธรณีวิทยาด้านการสำรวจแหล่งแร่เศรษฐกิจ บทความสรุปนี้กลั่นกรองมาจากประสบการณ์ของผู้เขียน และบางส่วนได้อ้างอิงมาจากวารสารต่างประเทศ โดยจะมี หัวข้อหลักๆ ตามนี้ 1. ต้นกำเนิดแร่ทองคำ 2. กระบวนการเกิดทองคำ 3. ประเภทของแหล่งแร่ทองคำ 4. ขั้นตอนการสำรวจทองคำ

Read more ›
Credit: GeoThai.net

ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน ทิศทางหลุม

มาต่อตอนที่ 4 ของ ซี่รี่ส์ความรู้ชุดการขุดเจาะน้ำกันนะครับ เราไล่กันมาเรื่องตั้งแต่การเลือกแท่นประเภทต่างๆ ในตอนที่ 1 มาจนถึงเสร็จเป็นหลุม ในตอนที่ 3 ส่งให้แผนกดูแลหลุม รับช่วงดูแลต่อให้ใช้งานได้ตามอายุไข จริงๆ แล้วมีรายละเอียดและเทคนิคมากมายนับไม่ถ้วน ไม่สามารถนำมาเล่าได้หมดจริงๆ เอาว่าเล่าเท่าที่สามารถก็แล้วกัน อย่างน้อยก็ทำให้พวกเราได้เห็นภาพกว้างๆ คร่าวๆ ว่ากว่าจะมาเป็นหลุมก๊าซ หลุมน้ำมันเนี่ย มันมีขั้นตอนอย่างไร ตอนที่ 4 นี้จะเรียกว่าภาคผนวกก็ไม่ผิดนัก เพราะจะคุยเรื่องการขุดแบบมีทิศทางหรือที่เรียกว่า Directional drilling

Read more ›
“I live on the Sagaing Fault, in Yeeshin village. A traditional and still widespread belief here is that earthquakes are a form of divine punishment. We are afraid that there will be another earthquake."

I live on the Sagaing Fault.

ชาวพม่าจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่ตามแนวรอยเลื่อนสะแกง ซึ่งเป็นรอยเลื่อนมีพลังขนาดใหญ่ พาดผ่านเมืองสำคัญอย่าง เนปิดอ และมัณฑะเลย์ หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวใหญ่เมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2555 ในเมืองตะเบ็กจีน มีผู้เสียชีวิต 26 ราย และบาดเจ็บกว่า 231 คน บทความนี้นำเสนอภาพความเสียหายและเรื่องเล่าจากกลุ่มคนในพื้นที่ประสบภัย ระหว่างการสำรวจธรณีวิทยาภาคสนามในประเทศพม่า

Read more ›
ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน ชั้นหินและท่อกรุ

ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน ชั้นหินและท่อกรุ

มาขุดเจาะปิโตรเลียมกันต่อ ไม่ทราบว่าลืมกันไปหรือยัง ว่าเราขุดกันถึงไหนแล้ว ทบทวนกันคร่าวๆ ก่อนนะครับ เราเริ่มจากการชี้เป้าจากนักธรณีวิทยา การเลือกแท่นขุดเจาะ การเลือกหัวเจาะ รู้จักท่อขุดหรือก้านเจาะ มีทฤษฎีกลศาสตร์การขุดนิดหน่อย ตามมาด้วยสถาบัตยากรรมของหลุม ตอนที่แล้วเราจบกันที่หลุมเราเป็นชั้นๆ ขุดจากใหญ่ไปเล็ก เอาท่อกรุ ใส่เป็นชั้นๆ เหมือนเอาหลอดดูดกาแฟขนาดต่างๆ กันสอดซ้อนๆ กันไว้

Read more ›
ดอกไม้ในก้อนหิน – กรือเซะ บินตัง เสม็ด.. เม็ดทรายใต้ดวงดาว

ดอกไม้ในก้อนหิน – กรือเซะ บินตัง เสม็ด.. เม็ดทรายใต้ดวงดาว

“ฉันท่องไปบนหาดนี้เป็นเนืองนิจ ระหว่างทรายกับฟองคลื่น คลื่นจะสาดลบรอยเท้า ลมจะพัดฟองแตกกระจาย แต่ทะเลและฝั่งจะยังคงอยู่ ตลอดกาล.. (ทรายกับฟองคลื่น : คาลิล ยิบราน)

Read more ›
กราฟิกธรณีวิทยาสองมิติ

กราฟิกธรณีวิทยาสองมิติ

ทำอย่างไรให้คนเข้าใจธรณีวิทยามากขึ้น? โดยที่ใช้คำให้น้อย มีภาพประกอบ และส่งเสริมให้เกิดการคิดตาม ถ้าคิดในฐานะนักธรณีวิทยา โจทย์นี้ถือว่ายาก เพราะจะติดอยู่กับการคิดมากเกินไป แต่ถ้าคิดในฐานะนักออกแบบ แค่เลือกภาพกราฟิกอย่างง่ายและใช้การเปรียบเทียบอย่างเหมาะสม ก็น่าจะตอบโจทย์นี้ได้

Read more ›