ไลแอลรำลึก
บุคคลสำคัญที่วงการธรณีวิทยาทั่วโลกยกย่องว่าเป็นบิดาธรณีวิทยา คือ เซอร์ ชาร์ลส์ ไลแอล (Sir Charles Lyell)
Read more ›บุคคลสำคัญที่วงการธรณีวิทยาทั่วโลกยกย่องว่าเป็นบิดาธรณีวิทยา คือ เซอร์ ชาร์ลส์ ไลแอล (Sir Charles Lyell)
Read more ›สวัสดีครับวันนี้ผมจะมาแนะนำเมืองหลวงของประเทศรัสเซียอย่างคร่าวๆ กันนะครับ นั้นก็คือ เมืองมอสโค ซึ่งเป็นเมืองที่ผมกำลังเรียนอยู่ครับ เมืองมอสโคเป็นเมืองหลวงที่มีประชากรอยู่หนาแน่นมาก แต่คนรัสเซียกลับมีอยู่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับชาวต่างชาติ เช่นคนจีน เวียดนาม รวมไปถึงประเทศที่แยกตัวจากสหภาพโซเวียต เช่น อาเซอร์ไบจัน คาซัคสถาน อุซเบิกิสสถาน ซึ่งคนรัสเซียเองก็ไม่ชอบชาวต่างชาติซักเท่าไหร่ที่อพยพเข้ามาและเข้ามาแย่งงานทำ โดยเฉพาะคนรุ่นเก่าๆ
Read more ›ข่าวเกี่ยวกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นแทบจะทุกวันในช่วงตลอดสองสามปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่เหตุการณ์แผ่นดินไหวเฮติและชิลี และล่าสุดที่ญี่ปุ่น ทำให้หลายคนเกิดความสงสัยว่าแผ่นดินไหวเกิดบ่อยขึ้นหรือไม่? ทำไมจึงมีแผ่นไหวเพิ่มมากขึ้น? หรือว่าโลกเรากำลังจะแตก?
Read more ›ความฟิตทางร่างกาย งานภาคสนามของนักธรณีวิทยาถือเป็นการออกกำลังกายแบบอิสระและไม่ซ้ำซากจำเจอย่างที่โรงยิมให้เราไม่ได้:
Read more ›ไม่ค่อยรู้เลยว่าจริงๆ แล้ว เรามีไดโนเสาร์สัญชาติไทยที่ถูกค้นพบในบ้านเราหลายชนิด และกำลังเริ่มทยอยถูกตั้งชื่อจากภาษาไทยอย่างเป็นทางการ หลังจากที่ได้แอบคุยกับทีมงาน ก็ทำให้ได้ความรู้เพิ่มเติมมากขึ้น (จากที่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย) วันนี้ก็เลยอยากเอามาแบ่งปันชาว GT บ้างอะไรบ้าง ไดโนเสาร์น้องใหม่ที่จะแนะนำให้รู้จักในวันนี้ มีชื่องดงามมากทีเดียว จะเป็นตัวอะไรนั้น มาดูกัน
Read more ›สอ เสถบุตร เป็นใคร ก็คงเหมือนกับหลายๆ คนที่รู้แค่ว่าเป็นชื่อคนแปลศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นไทยให้เราได้ใช้เรียนกัน แต่เมื่อได้ตามอ่านชีวประวัติแล้ว พบว่า สอ เสถบุตร มีบทบาทสำคัญมากต่อคนไทยในหลายวงการ ทั้งการศึกษา การเมือง และธรณีวิทยา สอ เสถบุตร เรียนจบทางด้านธรณีวิทยาและวิศวกรรมด้วยใบปริญญาเกียรตินิยม จากอังกฤษ บทความต่อไปนี้คัดลอกมาจากหนังสือพิมพ์ข่าวสด และนิตยสารสารคดีฉบับพิเศษ เพื่อให้ทุกคนรู้จักนักธรณีวิทยาท่านนี้มากขึ้น
Read more ›เรียนรู้กระบวนการผุพัง (weathering) และการกร่อน (erosion) จากภาพยนต์โฆษณาของโทรศัพท์มือถือโมโตโรล่า รุ่น PEBL คลิปวิดีโอสั้นนี้แสดงเรื่องราวของอุกกาบาตที่ตกสู่โลกแล้วผ่านกระบวนการผุพังและการกร่อนโดยธรรมชาติ จนกระทั่งกลายเป็นก้อนกรวดผิวเรียบ “pebble” อาจจะเป็นอิทธิพลทำให้กลายเป็นชื่อรุ่นของมือถือนี้ก็ได้ แต่คงไม่ใช่ หลังจากชมภาพยนต์โฆษณานี้แล้วทำให้เห็นภาพของกระบวนการทางธรณีวิทยามากขึ้น กระบวนการทั้งสองนี้แตกต่างกันตรงที่การผุพังนั้นเป็นการทำให้หินแตกเป็นชิ้นเล็กๆ (ช่วงแรกของคลิป) ในขณะที่การกร่อนนั้นเกิดจากการถูกพัดพาโดยตัวกลาง เช่น แม่น้ำลำธาร ทำให้ได้หินกลายเป็นกรวดมนๆ ซึ่งเป็นผลจากการขัดสีและกระทบกันของก้อนหินระหว่างการเดินทาง ความกลมมนของก้อนหินนี้เองที่ถูกนำมาใช้สื่อถึงความกลมมนของตัวสินค้า ดังที่จะเห็นการเปรียบเทียบโทรศัพท์มือถือกับก้อนหินในคลิปที่สอง ดูเผินๆ อาจจะแยกกันไม่ออกเลย
Read more ›ล่าสุดผมได้รับ forward mail ฉบับหนึ่งหัวข้อว่า “มรกรตนคร (ดินแดนแห่งจุดนัดพบของทิวาและราตรีกาล) ถูกค้นพบโดยนักธรณีชาวภารตะ” เนื้อหาภายในเป็นภาพสิ่งปลูกสร้างที่มีสถาปัตยกรรมอันสวยงาม หลายภาพ จากหลายมุมมอง ไม่พบคำบรรยายหรือคำอธิบายเกี่ยวกับสถานที่แต่อย่างใด ปกติแล้วเมื่อได้รับ forward mail แบบนี้ก็จะดูแล้วก็เลยผ่านไป แต่ด้วยหัวข้อที่ระบุอย่างชัดเจนว่าเป็นการค้นพบโดยนักธรณี ก็เลยอดสงสัยไม่ได้ว่ามีที่มาที่ไปอย่างไรกันแน่
Read more ›ผู้สร้างภาพยนต์เรื่อง Journey to the Center of the Earth 3D (ชื่อไทย: ดิ่งทะลุสะดือโลก <- ฟังดูตลกดีนะ) ซึ่งเข้าฉายในบ้านเราเมื่อปีที่แล้ว ได้จัดทำหนังสือการ์ตูนประกอบภาพยนต์ เพื่อให้ความรู้ข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ที่กลายมาเป็นนิยายวิทยาศาสตร์อันสนุกตื่นเต้น โดยเป็นเรื่องราวของนักสำรวจ 3 คนที่หลุดเข้าไปสู่ดินแดนใต้โลกอันสุดแสนจะพิศดาร ที่ซึ่งพวกเขาได้ค้นพบการเดินทางที่แสนมหัศจรรย์ท่ามกลางภยันตรายรอบด้าน
Read more ›หนังสือ “ก้อนหินรำพัน” – ห้วงอารมณ์ของ ‘ฅนเคาะหิน’ ในเส้นทางหลากฤดู โดย รชฏ มีตุวงศ์ ลักษณะงานเขียนเป็นบันทึกความเรียงผสมผสานกับเรื่องสั้น ที่หยิบยกเรื่องราวสัพเพเหระระหว่างเส้นทาง ในการสัญจรรอนแรมไปทำงานต่างถิ่นของนักธรณีวิทยาคนหนึ่ง นำมาเชื่อมโยงกับหลากหลายแง่มุมในชีวิต ทั้งด้านความรัก ความดี สัจธรรมความจริง ตะกอนความฝัน หนังสือ บทเพลง และบทกวีที่ประทับอยู่ในใจ เรียงร้อยออกมาเป็นเรื่องเล่าผ่านห้วงอารมณ์ซึ่งผันเปลี่ยนเวียนไปคล้ายดั่งฤดูกาลของชีวิต
Read more ›