Category: ธรณีพิบัติภัย

เรื่องเล่าแผ่นดินไหวขนาด 7.8 ประเทศเนปาล

เรื่องเล่าแผ่นดินไหวขนาด 7.8 ประเทศเนปาล

ณัฐพล สุขใจ (บอม) นักธรณีวิทยาจากจังหวัดเชียงราย เดินทางไปท่องเที่ยวที่ประเทศเนปาล และพบกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ แม้ว่าเขาจะเคยมีประสบการณ์จากเหตุแผ่นดินไหวที่เชียงรายมาแล้ว แต่แผ่นดินไหวที่เนปาลก็ทำให้บอมได้ประสบการณ์ใหม่ ซึ่งได้ถ่ายทอดให้ GeoThai.net ฟังดังนี้

Read more ›
รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 2557

รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 2557

บันทึกการสำรวจรอยเลื่อนมีพลังและความเสียหายจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ในพื้นที่ จ.เชียงราย เนื้อหาประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มรอยเลื่อนพะเยา การสังเกตรอยเลื่อนจากภูมิประเทศ และตัวอย่างความเสียหายที่พบจากการสำรวจพื้นที่ประสบภัย นำเสนอในมุมมองของนักธรณีวิทยา

Read more ›
รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย

รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย

หนึ่งในหกของประชากรไทยอาศัยอยู่ใกล้กับรอยเลื่อนมีพลัง การขยับตัวของรอยเลื่อนมีพลังทำให้เกิดแผ่นดินไหว แม้ว่าโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในประเทศไทยจะมีน้อยมาก แต่ถ้าไม่มีการเตรียมพร้อม แผ่นดินไหวขนาดเล็กก็อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ บทความนี้ให้ความรู้เกี่ยวกับรอยเลื่อน และรวมแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับแผ่นดินไหวในประเทศไทย

Read more ›
“I live on the Sagaing Fault, in Yeeshin village. A traditional and still widespread belief here is that earthquakes are a form of divine punishment. We are afraid that there will be another earthquake."

I live on the Sagaing Fault.

ชาวพม่าจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่ตามแนวรอยเลื่อนสะแกง ซึ่งเป็นรอยเลื่อนมีพลังขนาดใหญ่ พาดผ่านเมืองสำคัญอย่าง เนปิดอ และมัณฑะเลย์ หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวใหญ่เมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2555 ในเมืองตะเบ็กจีน มีผู้เสียชีวิต 26 ราย และบาดเจ็บกว่า 231 คน บทความนี้นำเสนอภาพความเสียหายและเรื่องเล่าจากกลุ่มคนในพื้นที่ประสบภัย ระหว่างการสำรวจธรณีวิทยาภาคสนามในประเทศพม่า

Read more ›
กราฟิกธรณีวิทยาสองมิติ

กราฟิกธรณีวิทยาสองมิติ

ทำอย่างไรให้คนเข้าใจธรณีวิทยามากขึ้น? โดยที่ใช้คำให้น้อย มีภาพประกอบ และส่งเสริมให้เกิดการคิดตาม ถ้าคิดในฐานะนักธรณีวิทยา โจทย์นี้ถือว่ายาก เพราะจะติดอยู่กับการคิดมากเกินไป แต่ถ้าคิดในฐานะนักออกแบบ แค่เลือกภาพกราฟิกอย่างง่ายและใช้การเปรียบเทียบอย่างเหมาะสม ก็น่าจะตอบโจทย์นี้ได้

Read more ›
นักวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย

นักวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย

ดร.เครือวัลย์ จันทร์แก้ว นักธรณีวิทยาหญิง ผู้สำรวจและวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย อดีตนักเรียนทุนพสวท.

Read more ›
ประโยชน์ของแผ่นดินไหว

ประโยชน์ของแผ่นดินไหว

แผ่นดินไหวเกิดขึ้นทุกวัน ส่วนใหญ่เกิดจากการขยับตัวของรอยเลื่อนมีพลัง การอาศัยอยู่ใกล้รอยเลื่อนจึงมีความเสี่ยง ถ้าสังเกตให้ดีจะพบว่าเมืองสำคัญหลายแห่งตั้งอยู่บนแนวรอยเลื่อน เมื่อเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ก็เกิดความเสียหายอย่างมหาศาล แผ่นดินไหวจึงเป็นสิ่งที่เราไม่ต้องการ แต่เมื่อห้ามไม่ได้ เราจะใช้ประโยชน์จากแผ่นดินไหวอย่างไร

Read more ›
แบบจำลองความสูงของคลื่นสึนามิจากแผ่นดินไหวญี่ปุ่น 2554 โดย NOAA

แผ่นดินไหวโทโฮะกุ ญี่ปุ่น 11 มี.ค. 2554

หลังเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งประวัติศาสตร์ในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ข้อมูลเกี่ยวกับแผ่นดินไหวได้ถูกเผยแพร่มากขึ้นในโลกอินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะการอธิบายข้อมูลด้วยภาพกราฟิกรูปแบบต่างๆ (infographic) บทความนี้รวบรวมข้อมูล ภาพกราฟิก และการสัมภาษณ์เกี่ยวกับแผ่นดินไหวโทโฮะกุ ประเทศญี่ปุ่น

Read more ›
ประตูสู่นรก ประเทศเติร์กเมนิสถาน (credit: ryan_roxx via flickr.com)

ประตูสู่นรก The Door to Hell

ประตูสู่นรก หรือ The Door to Hell เป็นหลุมที่ยุบตัวเนื่องจากโพรงหินปูนใต้ดิน ใกล้เมือง Derweze ประเทศเติร์กเมนิสถาน เกิดขึ้นโดยบังเอิญขณะที่มีการเจาะสำรวจก๊าซธรรมชาติ เมื่อปีพ.ศ. 2514 โดยใต้พื้นดินแถบนี้เต็มไปด้วยหินปูนที่มีรอยแยกรอยแตกและโพรงใต้ดิน รวมกันแล้วถือว่าเป็นแหล่งสะสมตัวของก๊าซธรรมชาติแหล่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลก

Read more ›
อุกกาบาต มหันตภัยจากนอกโลก

อุกกาบาต มหันตภัยจากนอกโลก

อุกกาบาตพุ่งเข้าชนโลก” มักเป็นพล็อตเรื่องขายดีสำหรับนิยายวิทยาศาสตร์ทั่วไป หนังและหนังสือหลายเรื่องต่างพยายามแสดงความเป็นไปได้อันนี้ เช่น Deep Impact, Armageddon, Lucifer’s Hammer เป็นต้น แต่ถ้าหากมันเกิดขึ้นจริงๆ ในปัจจุบันนี้ล่ะ มันจะเกิดอะไรขึ้นกับโลกของเรา?

Read more ›