Category: แผ่นดินทรุด

รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 2557

รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 2557

บันทึกการสำรวจรอยเลื่อนมีพลังและความเสียหายจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ในพื้นที่ จ.เชียงราย เนื้อหาประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มรอยเลื่อนพะเยา การสังเกตรอยเลื่อนจากภูมิประเทศ และตัวอย่างความเสียหายที่พบจากการสำรวจพื้นที่ประสบภัย นำเสนอในมุมมองของนักธรณีวิทยา

Read more ›
“I live on the Sagaing Fault, in Yeeshin village. A traditional and still widespread belief here is that earthquakes are a form of divine punishment. We are afraid that there will be another earthquake."

I live on the Sagaing Fault.

ชาวพม่าจำนวนหนึ่งอาศัยอยู่ตามแนวรอยเลื่อนสะแกง ซึ่งเป็นรอยเลื่อนมีพลังขนาดใหญ่ พาดผ่านเมืองสำคัญอย่าง เนปิดอ และมัณฑะเลย์ หลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวใหญ่เมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2555 ในเมืองตะเบ็กจีน มีผู้เสียชีวิต 26 ราย และบาดเจ็บกว่า 231 คน บทความนี้นำเสนอภาพความเสียหายและเรื่องเล่าจากกลุ่มคนในพื้นที่ประสบภัย ระหว่างการสำรวจธรณีวิทยาภาคสนามในประเทศพม่า

Read more ›
ประตูสู่นรก ประเทศเติร์กเมนิสถาน (credit: ryan_roxx via flickr.com)

ประตูสู่นรก The Door to Hell

ประตูสู่นรก หรือ The Door to Hell เป็นหลุมที่ยุบตัวเนื่องจากโพรงหินปูนใต้ดิน ใกล้เมือง Derweze ประเทศเติร์กเมนิสถาน เกิดขึ้นโดยบังเอิญขณะที่มีการเจาะสำรวจก๊าซธรรมชาติ เมื่อปีพ.ศ. 2514 โดยใต้พื้นดินแถบนี้เต็มไปด้วยหินปูนที่มีรอยแยกรอยแตกและโพรงใต้ดิน รวมกันแล้วถือว่าเป็นแหล่งสะสมตัวของก๊าซธรรมชาติแหล่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลก

Read more ›
หลุมยุบ

หลุมยุบ

หลุมยุบ (Sinkhole) เป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดการยุบตัวลงเป็นหลุม มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 1 ถึง 200 เมตร ลึกตั้งแต่ 1 ถึงมากกว่า 20 เมตร เมื่อแรกเกิดปากหลุมมีลักษณะเกือบกลมและมีน้ำขังอยู่ก้นหลุม ภายหลังน้ำจะกัดเซาะดินก้นหลุมกว้างขึ้น ลักษณะคล้ายลูกน้ำเต้า ทำให้ปากหลุมพังลงมาจนเหมือนกับว่าขนาดของหลุมยุบกว้างขึ้น

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 10 – ธรณีพิบัติภัย

  รอบรู้ธรณีไทย 10 – ธรณีพิบัติภัย Geological Disaster  ภัยธรรมชาติทางธรณีวิทยาในประเทศไทยถือว่า พบน้อยกว่าส่วนอื่นของโลก ได้แก่  1.ดินถล่ม (โคลนถล่ม) เกิดจากฝนตกหนักน้ำไหลบ่าบนที่สูงชัน  2.แม่น้ำกัดเซาะตลิ่งพัง และหลุมยุบ เกิดตามธรรมชาติแต่กิจกรรมของมนุษย์เป็นตั วเร่ง เช่น การสูบทราย การสูบน้ำบาดาล  3. แผ่นดินไหว และสึนามิ ประเทศไทยไม่ใช่แนวแผ่นดินไหวแต่ก็มีพื้นท ี่เสี่ยงภัย ภาคตะวันตกและชายฝั่งอันดามัน ควรสังเกตปรากฏการณ์ดึงมวลน้ำซึ่งเป็นสัญญ าณก่อนเกิดสึนามิ   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›