Category: สำรวจโลก

ตัวอย่างฟอสซิลบีเวอร์

บีเวอร์สยาม หลักฐานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกในอดีต

บีเวอร์ เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในเฉพาะเขตซีกโลกเหนือ ซึ่งยังไม่เคยพบเห็นในเขตเส้นศูนย์สูตรปัจจุบัน แต่รู้หรือไม่ ในอดีตประเทศไทยเคยมีบีเวอร์ ซากดึกดำบรรพ์ของบีเวอร์ถูกค้นพบในเหมืองแม่เมาะ จ.ลำปาง ซึ่งเป็นพันธุ์ใหม่ของโลก ชื่อเล่นว่า “บีเวอร์สยาม” การค้นพบทำให้เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในอดีต รวมถึงสภาพแวดล้อมโบราณที่พวกมันอาศัยอยู่ด้วย

Read more ›
การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ

การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ

การเกิดและสำรวจแหล่งแร่ทองคำ: ความรู้เบื้องต้นที่นักธรณีวิทยาควรรู้ โดย ดร.ธีระ คำวงษ์ นักธรณีวิทยาด้านการสำรวจแหล่งแร่เศรษฐกิจ บทความสรุปนี้กลั่นกรองมาจากประสบการณ์ของผู้เขียน และบางส่วนได้อ้างอิงมาจากวารสารต่างประเทศ โดยจะมี หัวข้อหลักๆ ตามนี้ 1. ต้นกำเนิดแร่ทองคำ 2. กระบวนการเกิดทองคำ 3. ประเภทของแหล่งแร่ทองคำ 4. ขั้นตอนการสำรวจทองคำ

Read more ›
Credit: GeoThai.net

ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน ทิศทางหลุม

มาต่อตอนที่ 4 ของ ซี่รี่ส์ความรู้ชุดการขุดเจาะน้ำกันนะครับ เราไล่กันมาเรื่องตั้งแต่การเลือกแท่นประเภทต่างๆ ในตอนที่ 1 มาจนถึงเสร็จเป็นหลุม ในตอนที่ 3 ส่งให้แผนกดูแลหลุม รับช่วงดูแลต่อให้ใช้งานได้ตามอายุไข จริงๆ แล้วมีรายละเอียดและเทคนิคมากมายนับไม่ถ้วน ไม่สามารถนำมาเล่าได้หมดจริงๆ เอาว่าเล่าเท่าที่สามารถก็แล้วกัน อย่างน้อยก็ทำให้พวกเราได้เห็นภาพกว้างๆ คร่าวๆ ว่ากว่าจะมาเป็นหลุมก๊าซ หลุมน้ำมันเนี่ย มันมีขั้นตอนอย่างไร ตอนที่ 4 นี้จะเรียกว่าภาคผนวกก็ไม่ผิดนัก เพราะจะคุยเรื่องการขุดแบบมีทิศทางหรือที่เรียกว่า Directional drilling

Read more ›
ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน ชั้นหินและท่อกรุ

ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน ชั้นหินและท่อกรุ

มาขุดเจาะปิโตรเลียมกันต่อ ไม่ทราบว่าลืมกันไปหรือยัง ว่าเราขุดกันถึงไหนแล้ว ทบทวนกันคร่าวๆ ก่อนนะครับ เราเริ่มจากการชี้เป้าจากนักธรณีวิทยา การเลือกแท่นขุดเจาะ การเลือกหัวเจาะ รู้จักท่อขุดหรือก้านเจาะ มีทฤษฎีกลศาสตร์การขุดนิดหน่อย ตามมาด้วยสถาบัตยากรรมของหลุม ตอนที่แล้วเราจบกันที่หลุมเราเป็นชั้นๆ ขุดจากใหญ่ไปเล็ก เอาท่อกรุ ใส่เป็นชั้นๆ เหมือนเอาหลอดดูดกาแฟขนาดต่างๆ กันสอดซ้อนๆ กันไว้

Read more ›
ดอกไม้ในก้อนหิน – กรือเซะ บินตัง เสม็ด.. เม็ดทรายใต้ดวงดาว

ดอกไม้ในก้อนหิน – กรือเซะ บินตัง เสม็ด.. เม็ดทรายใต้ดวงดาว

“ฉันท่องไปบนหาดนี้เป็นเนืองนิจ ระหว่างทรายกับฟองคลื่น คลื่นจะสาดลบรอยเท้า ลมจะพัดฟองแตกกระจาย แต่ทะเลและฝั่งจะยังคงอยู่ ตลอดกาล.. (ทรายกับฟองคลื่น : คาลิล ยิบราน)

Read more ›
Russell Lee - Adding a length of drilling pipe at oil well in Seminole oil field, Oklahoma. Wrenches applied to loosen pipe, 1939

ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน หัวเจาะ

สวัสดีครับ เราจบจากตอนที่แล้วที่การแนะนำประเภทของแท่นขุดเจาะชนิดต่างๆ ที่ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเป้าใต้พื้นดินพื้นน้ำ ตามที่เพื่อนนักธรณีวิทยากำหนดมาให้ ตอนนี้เราก็จะมาว่ากันต่อหลังจากเลือกประเภทของแท่นได้แล้วเราทำอะไรกัน

Read more ›
แท่นขุดเจาะแบบขายกตั้ง (เครดิตภาพ SISmarine.com)

ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน แท่นขุดเจาะ

สวัสดีครับเพื่อนพี่น้องชาวนักธรณีและผู้เยี่ยมชมทุกท่าน ผมมีความรู้มาแบ่งปันในเรื่องวิชาชีพวิศวกรขุดเจาะเปลือกโลก บอกก่อนนะครับ ผมจะไม่เล่าแนววิชาการมากมายอะไร เพราะจะหลับปุ๋ยกันไปก่อนจะอ่านกันจบ และ ก็ไม่ได้คาดหวังว่าจะให้เป็นวิศวกรขุดเจาะกัน … ว่าแต่เราจะมาเริ่มขบวนการเจาะเปลือกโลกกันตรงไหนดีล่ะ

Read more ›
Google Maps ประตูสู่ทุกหนแห่ง

Google Maps ประตูสู่ทุกหนแห่ง

ประตูทุกแห่งหน ของโดราเอมอน เป็นประตูวิเศษที่สามารถเชื่อมต่อกับสถานที่ต่างๆ ที่เราอยากจะไป ประตูนี้ไม่ได้มีอยู่แค่ในการ์ตูนอีกต่อไป เพราะ Google Maps Street View แผนที่ออนไลน์เสมือนจริง ก็สามารถทำให้เรารู้สึกเหมือนกับว่าได้เดินอยู่ในสถานที่นั้นจริงๆ ผ่านการชมภาพถ่ายแบบ 360 องศา

Read more ›
การสำรวจแร่ในภาคสนาม

การสำรวจแหล่งแร่: บทบาทของนักธรณีวิทยา

แร่เศรษฐกิจ คือแร่ที่มีคุณค่าและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมได้ เช่น ทองคำ เงิน เหล็ก เนื่องจากแร่มีค่าเหล่านี้ไม่ได้มีอยู่ทั่วไป การตามหาแหล่งแร่จึงเริ่มต้นจากการสำรวจภาคสนามโดยนักธรณีวิทยา

Read more ›
Ian West (2010)

ปิโตรเลียมจากสารอินทรีย์

จุดเริ่มต้นของปิโตรเลียมอยู่ที่ชั้นหินที่มีปริมาณสารอินทรีย์สูงที่เรียกว่า “หินต้นกำเนิด” เป็นหินที่เกิดจากการทับถมกันของเศษตะกอนปนซากพืชซากสัตว์ในอดีตเมื่อหลายล้านปีก่อน ความรู้นี้ยังไม่เปลี่ยน และยังคงเป็นพื้นฐานของการสำรวจปิโตรเลียมทั่วโลกในทุกวันนี้

Read more ›