เนื้อหาน่าสนใจ

โครงสร้างภายในของโลก

โครงสร้างภายในของโลก

โครงสร้างภายในโลกสามารถแบ่งออกเป็นชั้นต่างๆ ตามลักษณะของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบ แม้ว่าราจะไม่สามารถเข้าถึงแกนกลางโลกได้ แต่เราก็ยังสามารถรู้ถึงส่วนประกอบ โครงสร้าง และ กระบวนการที่เกิดขึ้นภายในโลกได้ สื่อการเรียนรู้ชุดนี้จะแสดงให้เห็นถึงวิธีการศึกษาโครงสร้างภายในของโลกของเรา

Read more ›
เรียนรู้เรื่องหิน

เรียนรู้เรื่องหิน

หินคืออะไร? คำถามง่ายๆ ที่หลายคนอาจจะนึกไม่ออกบอกไม่ถูก หลังจากที่ได้เรียนรู้เรื่องหินผ่านสื่อการสอนชุดนี้แล้ว จะทำให้คุณได้รู้จักหินมากขึ้น เนื้อหาชุดนี้ประกอบด้วย หินอัคนี หินตะกอน หินแปร ส่วนประกอบของเปลือกโลก และวัฏจักรของหิน

Read more ›
ประโยชน์ของแร่ทองคำ

ประโยชน์ของแร่ทองคำ

ทองคำ คือแร่โลหะชนิดหนึ่ง ที่มีความสวยงาม และหายาก สีเหลืองทองทำให้รู้สึกถึงคุณค่าและความหรูหรา เนื่องด้วยคุณสมบัติเด่นเฉพาะของแร่ทองคำ ทำให้ทองคำไม่ได้ถูกนำมาใช้เพื่อเป็นแค่สร้อยคอ กำไร แหวน ดังที่เราเห็นกันทั่วไปตามร้านขายทองเพียงอย่างเดียว ประโยชน์ของทองคำนั้นมีค่ามากกว่านั้น และมีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวันของเราเป็นอย่างยิ่ง

Read more ›
นักธรณีวิทยากับความแข็งแรง

นักธรณีวิทยากับความแข็งแรง

ความฟิตทางร่างกาย งานภาคสนามของนักธรณีวิทยาถือเป็นการออกกำลังกายแบบอิสระและไม่ซ้ำซากจำเจอย่างที่โรงยิมให้เราไม่ได้:

Read more ›
ไดโนเสาร์สัญชาติไทย

ไดโนเสาร์สัญชาติไทย

ไม่ค่อยรู้เลยว่าจริงๆ แล้ว เรามีไดโนเสาร์สัญชาติไทยที่ถูกค้นพบในบ้านเราหลายชนิด และกำลังเริ่มทยอยถูกตั้งชื่อจากภาษาไทยอย่างเป็นทางการ หลังจากที่ได้แอบคุยกับทีมงาน ก็ทำให้ได้ความรู้เพิ่มเติมมากขึ้น (จากที่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย) วันนี้ก็เลยอยากเอามาแบ่งปันชาว GT บ้างอะไรบ้าง ไดโนเสาร์น้องใหม่ที่จะแนะนำให้รู้จักในวันนี้ มีชื่องดงามมากทีเดียว จะเป็นตัวอะไรนั้น มาดูกัน

Read more ›
เส้นทางอาชีพนักธรณีวิทยา

เส้นทางอาชีพนักธรณีวิทยา

เหตุการณ์ทางธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นแผ่นดินไหว คลื่นยักษ์สึนามิ ภาวะโลกร้อน ตลอดจนปัญหาความเสื่อมโทรมของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้กระตุ้นความสนใจในสาขาอาชีพนักธรณีวิทยามากขึ้น ส่งผลให้มีผู้สนใจเข้าศึกษาในสายวิชาชีพนี้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

Read more ›
Charles Lyell – บิดาของธรณีวิทยา

Charles Lyell – บิดาของธรณีวิทยา

หลายคนอาจจะรู้จักชาร์ลส์ ดาร์วิน เป็นอย่างดีในฐานะนักวิทยาศาสตร์และปรัชญาผู้ยิ่งใหญ่ดังที่ GT เคยเสนอเรื่องราวของดาร์วินไปแล้วนั้น แต่ใครจะรู้บ้างว่าผู้ที่อยู่เบื้องหลังและส่งอิทธิพลต่อความสำเร็จของดาร์วินนั้นคือ ชาร์ลส์ ไลแอล (Charles Lyell) ผู้ซึ่งได้รับขนานนามว่าเป็น “บิดาของธรณีวิทยา” ผลงานหนังสือหลักธรณีวิทยา “The principles of geology” ของเขานั้นเป็นผลงานชิ้นเอกที่มีความสำคัญต่อวงการธรณีเป็นอย่างมาก และหนังสือนี้เองที่ทำให้ดาร์วินเข้าถึงหลักกระบวนการคิดในเชิงธรณีวิทยาอย่างแท้จริง 

Read more ›
สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง วิทยาศาสตร์พื้นพิภพ

สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง วิทยาศาสตร์พื้นพิภพ

Read more ›
สอ เศรษฐบุตร นักธรณีผู้แปลอังกฤษเป็นไทย

สอ เศรษฐบุตร นักธรณีผู้แปลอังกฤษเป็นไทย

สอ เสถบุตร เป็นใคร ก็คงเหมือนกับหลายๆ คนที่รู้แค่ว่าเป็นชื่อคนแปลศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นไทยให้เราได้ใช้เรียนกัน แต่เมื่อได้ตามอ่านชีวประวัติแล้ว พบว่า สอ เสถบุตร มีบทบาทสำคัญมากต่อคนไทยในหลายวงการ ทั้งการศึกษา การเมือง และธรณีวิทยา สอ เสถบุตร เรียนจบทางด้านธรณีวิทยาและวิศวกรรมด้วยใบปริญญาเกียรตินิยม จากอังกฤษ บทความต่อไปนี้คัดลอกมาจากหนังสือพิมพ์ข่าวสด และนิตยสารสารคดีฉบับพิเศษ เพื่อให้ทุกคนรู้จักนักธรณีวิทยาท่านนี้มากขึ้น

Read more ›
การเกิดปิโตรเลียม

การเกิดปิโตรเลียม

ปิโตรเลียม (petroleum จากภาษากรีก petra – หิน และ elaion – น้ำมัน หรือภาษาละติน oleum – น้ำมัน ) หรือที่เราเรียกกันว่า น้ำมัน เป็นทรัพยากรธรรรมชาติที่สามารถพบได้ในชั้นหินในบางพื้นที่บนเปลือกโลก หรือใต้พื้นดิน ปิโตรเลียมประกอบไปด้วยสารประกอบโครงสร้างซับซ้อนของไฮโดรคาร์บอน ซึ่งอาจมีความข้นหนืดและดำเหมือนน้ำมันดิน หรือบางครั้งอาจเหลวเหมือนน้ำก็ได้

Read more ›